Product description
คำอธิบายพยานหลักฐาน คดีแพ่งและคดีอาญา อ.ธานี สิงหนาท
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 19 / สิงหาคม 2567
ในการพิมพ์ครั้งนี้ได้ปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาเรื่องภาระการพิสูจน์ในคดีแพ่ง
มาตรฐานการพิสูจน์ในคดีแพ่งและคดีอาญา และเพิ่มเติมตัวอย่างข้อสอบวิชาพยาน
หลักฐานของเนติบัณฑิตยสภา ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาสนามใหญ่ สนามเล็กและ
สนามจิ๋วจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังได้ปรับปรุงเพิ่มเติมตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาให้
ทันสมัยจนถึงปัจจุบันเพื่อให้หนังสือเล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ผู้เขียนหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษา นักกฎหมาย
ทุกภาคส่วนและผู้สนใจกฎหมายทั่วไป
บทที่ ๒ พยานหลักฐานในสำนวน
๑. ข้อเท็จจริงซึ่งรู้กันอยู่ทั่วไป
๒. ข้อเท็จจริงซึ่งไม่อาจโต้แย้งได้
๓. ข้อเท็จจริงที่คู่ความรับหรือถือว่ารับกันแล้วในศาล
๓.๒ คำรับของคู่ความเป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้ทำคำรับ
บทที่ ๓ การกำหนดประเด็นข้อพิพาท
๑. คดีพิพาทเกี่ยวกับทรัพย์สิน
๔. คดีขอให้เปิดทางจำเป็นหรือภาระจำยอม
๖. คดีขอจัดการมรดกและคดีมรดก
๗. คดีพิพาทกันในชั้นบังคับคดี
บทที่ ๕ มาตรฐานการพิสูจน์ในคดีแพ่ง
๑. ความหมายและวัตถุประสงค์ของมาตรฐานการพิสูจน์
๒. ระดับของมาตรฐานการพิสูจน์ในคดีแพ่ง
บทที่ ๖ การยื่นบัญชีระบุพยาน
๓. ข้อยกเว้นของการยื่นบัญชีระบุพยาน
๔. กรณีที่อยู่นอกขอบเขตของกฎเกณฑ์การยื่นบัญชีระบุพยาน
บทที่ ๗ วิธีการนำสืบพยานเอกสาร
๑. การส่งสำเนาเอกสารล่วงหน้า
๑.๓ ข้อยกเว้นที่คู่ความไม่ต้องส่งสำเนาเอกสารล่วงหน้า
(ก) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๐ (๑)
(ข) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๐ (๒)
(ค) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๐ (๓)
(ง) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๗ (๒)
๑.๔ กรณีที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับของกฎเกณฑ์ตามมาตรา ๙๐
๒. การนำสืบด้วยต้นฉบับเอกสาร
๒.๒ ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องนำสืบด้วยต้นฉบับเอกสาร
(ก) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๓ (๑)
(ข) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๓ (๒)
(ค) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๓ (๓)
(ง) ข้อยกเว้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๓ (๔)
๓. ปิดอากรแสตมป์ให้บริบูรณ์
บทที่ ๘ การนำสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร
๑. กรณีที่ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดง
๒. ใช้บังคับเฉพาะในคดีที่ฟ้องร้องให้บังคับหรือไม่บังคับ
ตามสิทธิหน้าที่ในสัญญาระหว่างคู่สัญญาโดยตรงเท่านั้น
๓. ข้อห้ามการนำสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสารหรือ
เพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร