Product description
คู่มือการปฎิบัติงานคดีแพ่ง สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้แต่ง : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
พิมพ์ครั้งที่ 1 : ธันวาคม 2565
เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นและฟ้องคดีต่อศาล การปฏิบัติในกระบวนการพิจารณาในศาลต้อง
ปฏิบัติตามขั้นตอนตามที่กฎหมายกำหนดและระเบียบที่ตาลได้วางไว้ บางส่วนต้องประสานงาน
ธุรการ บางส่วนต้องปฏิบัติตามที่ผู้พิพากษากำหนด หากมีข้อผิดพลาดย่อมเกิดความเสียหาย
แก่รูปคดีที่ไม่อาจแก้ไขได้ แนวทางปฏิบัติในกระบวนการพิจารณาเป็นหนทางหนึ่งที่จะสร้าง
พื้นฐานความเข้าใจได้ง่ายกว่าการเรียนรู้ทางทฤษฎี ผู้เชี่ยวชาญในการปฏิบัติจะสามารถกำหนด
รูปแบบและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยถูกต้องรวดเร็ว ด้วยปัญหาดังกล่าวผู้เขียนจึงได้
รวบรวมข้อกฎหมายที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติในการดำเนินคดี เพื่อสร้าง
ความเข้าใจแก่คู่ความและผู้ที่สนใจศึกษาเพื่อให้เห็นขั้นตอนที่สำคัญแล้วนำมาประยุกดีใช้ป้องกัน
หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสร้างประโยชน์และเกิดความเป็นธรรม
แก่คู่ความที่ปฏิบัติอย่างถูกต้อง หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับไว้เพื่อเป็น
บทที่ ๑ การยื่นฟ้องและเขตอำนาจศาล (มาตรา ๒, ๓, ๔, ๔ ทวิ, ๔ ตรี,
บทที่ ๒ คู่ความเป็นผู้เยาว์ (มาตรา ๔๕, ๕๖)
บทที่ ๓ การคำนวณค่าธรรมเนียมศาล
บทที่ ๔ ใบมอบอำนาจและการมอบอำนาจให้ดำเนินคดี (มาตรา ๔๗, ๖๐)
บทที่ ๕ กิจการมอบฉันทะให้ผู้อื่นทำแทนได้ (มาตรา ๒๔)
บทที่ - การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง (มาดรา ๗๔-๘๓ อัฏฐ)
บทที่ ๗ การทิ้งฟ้องและการถอนฟ้อง (มาตรา ๑๗๔-๑๗๖)
บทที่ ๘ จำาเลยยื่นคำให้การและฟ้องแย้ง (มาตรา ๑๗๗-๑๗๘)
บทที่ ๙ การแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้การ (มาตรา ๑๗๙-๑๘๑)
บทที่ ๑0 คู่ความมรณะและการร้องสอดเข้าเป็นคู่ความ (มาตรา ๙๒-๔๔, ๕๗-๕๘)
บทที่ ๑๑ ชั้นซี้สองสถานะ (มาตรา ๑๘๒-๑๘๔)
บทที่ ๑๒ การพิจารณาคดีรวมกัน การแยกคดี คดีมโนสาเร่และคดีไม่มีข้อยุ่งยาก
บทที่ ๑๓ การยื่นบัญชีพยาน (มาตรา ๘๘)
บทที่ ๑๔ การอ้างเอกสารเป็นพยานและการขอให้เรียกเอกสารมาเป็นพยาน
บทที่ ๑๕ พยานบุคคลและการส่งประเด็น (มาตรา ๑๐๖, ๑๐๖/๑, ๑๐๑,๑๐๑/๑, ๑๐๒, ๓๔)
บทที่ ๑๖ การเบิกความของพยาน (มาตรา ๑๑๒, ๑๒๐/๑, ๑๒๐/๒, ๑๒๑,๑๒o/๔, ๑๑๑)
บทที่ ๑๗ การสืบพยานบุคคลหรือสำเนาแทนเอกสาร การส่งเอกสารตรวจพิสูจน์
และการทำแผนที่พิพาท (มาตรา ๙๓, ๑๒๖, ๑๒๘/๑)
บทที่ ๑๘ การตกลงเกี่ยวกับการสืบพยาน และการเผชิญสืบ
(มาตรา ๑๐๓/๑, ๑๐๓/๒, ๑๐๒)
บทที่ ๒0 การพิจารณาโดยขาดนัด (มาตรา ๑๙๗-๒๐๔)
บทที่ ๒๑ การพิจารณาคดีใหม่ (มาตรา ๒๐๖-๒๐๗)
บทที่ ๒๒ คำสั่งระหว่างพิจารณา (มาตรา ๒๒๖-๒๒๘)
บทที่ ๒๓ การแก้ไขดำพิพากษา (มาตรา ๑๔๓)
บทที่ ๒๔ การขยายหรือย่นระยะเวลา (มาตรา ๒๓)
บทที่ ๒๕ การเลื่อนคดี (มาตรา ๔0)
บทที่ ๒ '๖- การชี้ขาดข้อกฎหมายเบื้องต้น (มาตรา ๒๔)
บทที่ ๒๗ การเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ (มาตรา ๒๗)
บทที่ ๒๘ กรณีคู่ความไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาต่อศาลที่มีเขตอำนาจได้
บทที่ ๒๙ การยกเว้นค่าธรรมเนียม (มาตรา ๑๕๖, ๑๕๖/๑)
บทที่ ๓๐ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา (มาตรา ๒๕๓, ๒๕๔, ๒๖๖, ๒๖๔)
บทที่ ๓๑ การขอให้ถอนการยึด อายัด ห้ามชั่วคราว (มาตรา ๒'๖๑-๒'๖๓, ๒๖๗)
บทที่ ๓๒ การประนีประนอมยอมความ (มาตรา ๑๙, ๒๐, ๒๐ ทวิ, ๒๐ ตรี, ๑๓๘)
บทที่ ๓๓ การพิจารณาชั้นอุทธรณ์ (มาตรา ๒๒๔, ๒๒๙, ๒๓๐-๒๓๔)
บทที่ ๓๔ การขออนุญาตฎีกา (มาตรา ๒๔๗)
บทที่ ๓๕ คไม่มีข้อพิพาท (มาตรา ๑๘๘)
บทที่ ๓๖ ทนายความ (มาตรา ๖๐-๖๕)