โดยเนื้อหาจะแบ่งของเป็นบทการเรียนรู้ทั้งหมดมี 10 บทแห่งการเรียนรู้ และ 1 ภาคผนวกโดยเนื้อหาทั้งหมดเป็นวิดีโอไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง เก็บรายละเอียดทุกตัวโดยมีหัวข้อการเรียนรู้ เนื้อหาดังต่อไปนี้ . บทที่ 1 โครงสร้างการทำงาน Arduino IDE 1.1 ตามรอยเส้นทาง Arduino กับการสร้างนวัตกรรม 1.2 โปรแกรม Arduino และการติดตั้งโปรแกรม 1.3 ข้อมูลตัวช่วยเหลือในแพลตฟอร์ม Arduino 1.4 เมนูการใช้งานที่จำเป็นของ Arduino IDE 1.5 การสร้างนวัตกรรมบนแพลตฟอร์ม Arduino แบบตามรอยยาก . บทที่ 2 ไมโครคอนโทรลเลอร์และระบบควบคุมอัตโนมัติ 2.1 ไมโครคอนโทรลเลอร์และไมโครโปรเซสเซอร์ 2.2 โครงสร้างภายในและภายนอกของ MCU 2.3 องค์ประกอบการมีชีวิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.4 ไมโครคอนโทรลเลอร์ค่ายต่าง ๆ ค่าย Microchip AVR ATmega8,ATmega168,ATmega328 ค่าย ST STM8,STM32 ค่าย Espressif ESP8266,ESP32 . บทที่ 3 อินเตอร์เฟสและการเชื่อมต่อ 3.1 การต่อวงจรรับส่งข้อมูลแบบดิจิตอลแบบขนาน 3.2 การต่อวงจรรับส่งข้อมูลแบบอนาล๊อก 3.3 วงจรและการรับส่งข้อมูลแบบอนุกรมชนิด Serial 3.4 วงจรและการรับส่งแบบเส้นเดียว One Wire 3.5 วงจรและการรับส่งข้อมูลแบบอนุกรมชนิด SPI 3.6 วงจรและการรับส่งข้อมูลแบบอนุกรมชนิด I2C . บทที่ 4 การโปรแกรมข้อมูลเบื้องต้น 4.1 หลักการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับ MCU เพื่อโปรแกรม ข้อมูลลงไปบนตัว MCU 4.2 การเชื่อมต่อขาชุดโปรแกรมเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล AVR เช่นเบอร์ ATmega8,ATmega168,ATmega328 4.3 การเชื่อมต่อขาชุดโปรแกรมเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล STM8 STM32 4.4 การเชื่อมต่อขาชุดโปรแกรมเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล ESP8266 และ ESP32 . บทที่ 5 เส้นทางในการพัฒนานวัตกรรมบนแพลตฟอร์ม Arduino 5.1 คำสั่งและเครื่องมือช่วยเหลือ 5.2 การติดตั้ง Board เพิ่มเติมและการใช้งาน 5.3 แนวทางในการสร้างนวัตกรรมโดยใช้ Arduino แพลตฟอร์ม 5.4 เทคนิคการสร้างบอร์ดเพื่อใช้งานเอง 5.5 ตัวอย่างการออกแบบบอร์ดควบคุมอเนกประสงค์ พร้อมวงจรและลาย PCB . บทที่ 6 เทคนิคการแฟลชโปรแกรมและการทำบูตโหลดเดอร์ 6.1 การต่อใช้งานอุปกรณ์เพื่อทำการอัพโหลดเฟอร์มแวร์ 6.2 วงจรและการต่อเพื่อโปรแกรมบูตโหลดเดอร์ 6.3 การประกอบวงจรเครื่องโปรแกรม MCU 6.4 การใช้งานเครื่องโปรแกรม MCU AVR ตระกูล ATmega . บทที่ 7 โปรแกรม Simulation 7.1 โปรแกรม Proteus กับการจำลองวงจรด้านนวัตกรรม 7.2 การทดลองวงจรโดยไม่ต้องมีบอร์ด Arduino 7.3 การเขียนวงจรเพื่อทำการทดลองวงจรดิจิตอลอินพุทเอาท์พุท 7.4 การเขียนวงจรควบคุมมอเตอร์ 7.5 การเขียนวงจรเพื่อการแสดงผล LCD . บทที่ 8 Coding ตอนคำสั่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม 8.1 ประวัติภาษาซี 8.2 โครงสร้างภาษาซี 8.3 คำสงวนหรือคีย์เวิร์ดของภาษาซี 8.4 โอเปอร์เรเตอร์ 8.5 การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ 8.6 การดำเนินการทางตรรกศาสตร์ 8.7 คำสั่งในภาษาซี 8.8 การเขียนฟังก์ชั่นในภาษาซี . บทที่ 9 การเขียนโปรแกรมบนแพลตฟอร์ม Arduino 9.1 โปรแกรมทดสอบอุปกรณ์เอาท์พุท LED, Relay 9.2 โปรแกรมเพื่อการทดสอบอินพุท 9.3 โปรแกรมรับค่าอนาล๊อก 9.4 โปรแกรมสร้างสัญญาณความถี่และ PWM 9.5 โปรแกรมเพื่อควบคุมมอเตอร์ DC Motor 9.6 โปรแกรมเพื่อแสดงผลบนจอ LCD 9.7 โปรแกรมแสดงผลแบบ 7-Segmet 9.8 โปรแกรมเพื่ออ่านค่าอุณหภูมิจาก TH 9.9 โปรแกรมเพื่ออ่านค่าจาก DHT22 9.10 โปรแกรมเพื่ออ่านค่าระยะทางด้วย Ultrasonic 9.11 โปรแกรมควบคุม Servo Motor 9.12 การบันทึกเสียงและการแปลงไฟล์เป็น MP3 9.13 โปรแกรมอ่านค่า MP3 9.14 โปรแกรมเทคนิคการวัดกระแส 0-10A หรือแรงดันไฟฟ้า 0-1000V 9.15 การเชื่อมโยงโปรแกรมแบบหลาย Libraries . บทที่ 10 การออกแบบโปรเจคและการเขียนโปรแกรม 10.1 เครื่องจ่ายเจลอัตโนมิตพูดได้ 10.2 ถังขยะพูดได้ 10.3 ประตูเปิดปิดอัตโนมัติ 10.4 เครื่องวัดปริมาณน้ำ . ภาคผนวก A. EP1 การใช้งาน Proteusตอนที่ 1 B. EP2 การใช้งาน Proteusตอนที่ 2 C. EP3 การใช้งาน Proteusตอนที่ 3 D. EP4 ไมโครคอนโทรลเลอร์ E. EP5 การสื่อสารอนุกรม RS232 D. EP6 ทดลองวงจรและโปรแกรมตอนที่ 1 E. EP7 ทดลองวงจรและโปรแกรมตอนที่ 2 F. EP8 ทดลองวงจรและโปรแกรมตอนที่ 3 G. EP9 ทดลองวงจรและโปรแกรมตอนที่ 4 H. EP10 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 1 I. EP11 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 2 J. EP12 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 3 K. EP13 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 4 L. EP14 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 5 M. EP15 การสร้างสินค้าต้นแบบ ด้วยPCB ชนิด 2 หน้าตอนที่ 6 N. EP16 การเตรียมการเพื่อทำต้นแบบ PCB ชนิด 2 หน้า O. EP17 ขั้นตอนการผลิต PCB แบบ 2 หน้า P. EP18 การลงอุปกรณ์ทดสอบบอร์ดและการเบิร์นบูตโหลดเดอร์ Q. EP19 พื้นฐานการออกแบบเซ็นเซอร์ R. EP20 ตัวอย่างโปรเจคเครื่องจ่ายเจลอัตโนมัติพูดได้